อาจารย์ประจำหลักสูตร คนที่ ๑
รายการ | ข้อมูล |
ตำแหน่งทางวิชาการ/สาขาวิชา | |
ชื่อ/ฉายา/นามสกุล | พระครูอมรธรรมบัณฑิต (ศรีสวรรค์ อมรธมฺโม) |
วุฒิการศึกษา ปริญญาตรี | |
– ชื่อหลักสูตร / สาขาวิชาที่จบการศึกษา | ศน.บ.ศาสนศาสตรบัณฑิต / สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ |
– กลุ่มสาขาวิชาที่จบการศึกษา | ศึกษาศาสตร์ |
– ปีที่จบการศึกษา | ๒๕๕๐ |
– ชื่อสถาบันที่จบการศึกษา | มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย |
วุฒิการศึกษา ปริญญาโท | |
– ชื่อหลักสูตร / สาขาวิชาที่จบการศึกษา | ศษ.ม.ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต / สาขาวิชาการสอนภาษาไทย |
– กลุ่มสาขาวิชาที่จบการศึกษา | ศึกษาศาสตร์ |
– ปีที่จบการศึกษา | ๒๕๕๘ |
– ชื่อสถาบันที่จบการศึกษา | มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ |
วุฒิการศึกษา ปริญญาเอก | |
– ชื่อหลักสูตร / สาขาวิชาที่จบการศึกษา | |
– กลุ่มสาขาวิชาที่จบการศึกษา | |
– ปีที่จบการศึกษา | |
– ชื่อสถาบันที่จบการศึกษา | |
ประสบการณ์การทำการสอน | |
– จำนวนปีที่ทำการสอน | |
– ชื่อรายวิชาที่ทำการสอน | ความเป็นครูวิชาชีพ,ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย,ภาษาศาสตร์ภาษาไทย,การสอนภาษาไทย,คติชนวิทยา,การพัฒนาหลักสูตร,วรรณกรรมกับทัศนศิลป์,การสอนภาษาไทยแก่ชาวต่างชาติ,วรรณคดีและวรรณกรรมไทย,วรรณกรรมสมัยใหม่,การฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน ๒ |
ผลงานทางวิชาการ | |
– งานวิจัย / บทความวิจัย | พ.ศ.๒๕๖๑ พระศรีสวรรค์ อมรธมฺโม, ชูศรี เกิดศิลป์, ผศ.ลำยอง สำเร็จดี (๒๕๖๑). “การจัดการศึกษาตลอดชีวิต ของกลุ่มชาติพันธุ์ในเขตภาคเหนือตอนล่าง”.สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ :มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. |
– บทความวิชาการ / บทความปริทัศน์ | พ.ศ.๒๕๖๒ พระศรีสวรรค์ อมรธมฺโม “สัญลักษณ์ ภาษาสุนทรีย์ในวรรณคดีวรรณกรรมไทย”, วารสารพุทธชินราชปริทัศน์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์พุทธชินราช ปีที่ ๓, ฉบับที่ ๑, ๒๕๖๒ (มกราคม – เมษายน ๒๕๖๒) : ๕๕-๖๘
พ.ศ.๒๕๖๒ ผศ.ลำยอง สำเร็จดี , พระศรีสวรรค์ อมรธมฺโม, ชูศรี เกิดศิลป์ (๒๕๖2). “ความคิดสร้างสรรค์ของนักประพันธ์เรืองนาม”, วารสาร มจร พุทธชินราชปริทรรศน์ วิทยาลัยสงฆ์พุทธชินราช ปีที่ ๓, ฉบับที่ ๑, ๒๕๖๒ (มกราคม – เมษายน ๒๕๖๒) |
– ตำรา/หนังสือ/งานแปล | พระศรีสวรรค์ อมรธมฺโม. “การสอนภาษาไทย”. (พิษณุโลก:โฟกัสปริ้นส์ติ้ง,๒๕๖๐), ๒๒๐ หน้า |
วัน/เดือน/ปี ที่เข้าทำงาน | ๒๑ กันยายน ๒๕๕๘ |
ประเภท (ประจำ/อัตราจ้าง) | ประจำ |